Royal Thai Embassy, Ankara
Royal Thai Embassy, Ankara
Our Booking Policy*สำคัญ* กรุณาศึกษาข้อมูลการขอรับบริการกงสุลบนเว็บไซต์ของสถานเอกอัครราชทูตฯ อย่างละเอียดและดาวน์โหลดแบบฟอร์มที่ ankara.thaiembassy.org *Important* For further information about visa please visit ankara.thaiembassy.org
*สำคัญ* กรุณาศึกษาข้อมูลการขอรับบริการกงสุลบนเว็บไซต์ของสถานเอกอัครราชทูตฯ อย่างละเอียดและดาวน์โหลดแบบฟอร์มที่ ankara.thaiembassy.org *Important* For further information about visa please visit ankara.thaiembassy.org
Services
เอกสารประกอบการขอหนังสือเดินทาง
1. บัตรประจำตัวประชาชน ที่มีเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก (ฉบับจริง)
2. สำเนาทะเบียนบ้านของไทย ที่มีชื่อผู้ยื่นคำร้องถูกต้อง (ไม่อยู่ระหว่างการย้ายหรืออยู่ในทะเบียนบ้านกลาง หรือขัดข้องด้วยเหตุอื่น)
3. หนังสือเดินทางเล่มปัจจุบัน
4. เอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงชื่อ/นามสกุล สมรสหรือหย่า เช่น ใบเปลี่ยนชื่อและสกุล ใบสำคัญการสมรส ใบสำคัญการหย่า
รายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาตรวจสอบที่ ankara.thaiembassy.org
ในกรณีที่เอกสารยื่นคำร้องในวันนัดหมายไม่สมบูรณ์เรียบร้อย สถานเอกอัครราชทูตฯ ขอสงวนสิทธ์ในการปฏิเสธคำร้อง และผู้ร้องจะต้องทำการนัดหมายใหม่อีกครั้ง
1. บัตรประจำตัวประชาชน ที่มีเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก (ฉบับจริง)
2. สำเนาทะเบียนบ้านของไทย ที่มีชื่อผู้ยื่นคำร้องถูกต้อง (ไม่อยู่ระหว่างการย้ายหรืออยู่ในทะเบียนบ้านกลาง หรือขัดข้องด้วยเหตุอื่น)
3. หนังสือเดินทางเล่มปัจจุบัน
4. เอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงชื่อ/นามสกุล สมรสหรือหย่า เช่น ใบเปลี่ยนชื่อและสกุล ใบสำคัญการสมรส ใบสำคัญการหย่า
รายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาตรวจสอบที่ ankara.thaiembassy.org
ในกรณีที่เอกสารยื่นคำร้องในวันนัดหมายไม่สมบูรณ์เรียบร้อย สถานเอกอัครราชทูตฯ ขอสงวนสิทธ์ในการปฏิเสธคำร้อง และผู้ร้องจะต้องทำการนัดหมายใหม่อีกครั้ง
1. คุณสมบัติของผู้ยื่นคำร้อง
1.1 เป็นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว กล่าวคือ บุคคลที่มีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป หรือบุคคลที่มีอายุยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์แต่ได้ทำการสมรสอย่าง
ถูกต้องตามกฎหมายไทยแล้ว
1.2 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านของไทย (ทร. 14)
1.3 มีบัตรประชาชนที่ยังไม่หมดอายุ
อนึ่ง บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ และ/หรือผู้ที่ยื่นคำร้องขอหนังสือเดินทางเล่มแรกในต่างประเทศและยังไม่มีชื่อในทะเบียนบ้านไทยไม่สามารถยื่นคำร้องขอหนังสือเดินทางอายุไม่เกิน 10 ปีได้
2. เอกสารประกอบการขอหนังสือเดินทาง
2.1 บัตรประจำตัวประชาชน ที่มีเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก (ฉบับจริง)
2.2 สำเนาทะเบียนบ้านของไทย ที่มีชื่อผู้ยื่นคำร้องถูกต้อง (ไม่อยู่ระหว่างการย้ายหรืออยู่ในทะเบียนบ้านกลาง หรือขัดข้องด้วยเหตุอื่น)
2.3 หนังสือเดินทางเล่มปัจจุบัน
2.4.เอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงชื่อ/นามสกุล สมรสหรือหย่า เช่น ใบเปลี่ยนชื่อและสกุล ใบสำคัญการสมรส ใบสำคัญการหย่า
รายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาตรวจสอบที่ ankara.thaiembassy.org
ในกรณีที่เอกสารยื่นคำร้องในวันนัดหมายไม่สมบูรณ์เรียบร้อย สถานเอกอัครราชทูตฯ ขอสงวนสิทธ์ในการปฏิเสธคำร้อง และผู้ร้องจะต้องทำการนัดหมายใหม่อีกครั้ง
1.1 เป็นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว กล่าวคือ บุคคลที่มีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป หรือบุคคลที่มีอายุยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์แต่ได้ทำการสมรสอย่าง
ถูกต้องตามกฎหมายไทยแล้ว
1.2 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านของไทย (ทร. 14)
1.3 มีบัตรประชาชนที่ยังไม่หมดอายุ
อนึ่ง บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ และ/หรือผู้ที่ยื่นคำร้องขอหนังสือเดินทางเล่มแรกในต่างประเทศและยังไม่มีชื่อในทะเบียนบ้านไทยไม่สามารถยื่นคำร้องขอหนังสือเดินทางอายุไม่เกิน 10 ปีได้
2. เอกสารประกอบการขอหนังสือเดินทาง
2.1 บัตรประจำตัวประชาชน ที่มีเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก (ฉบับจริง)
2.2 สำเนาทะเบียนบ้านของไทย ที่มีชื่อผู้ยื่นคำร้องถูกต้อง (ไม่อยู่ระหว่างการย้ายหรืออยู่ในทะเบียนบ้านกลาง หรือขัดข้องด้วยเหตุอื่น)
2.3 หนังสือเดินทางเล่มปัจจุบัน
2.4.เอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงชื่อ/นามสกุล สมรสหรือหย่า เช่น ใบเปลี่ยนชื่อและสกุล ใบสำคัญการสมรส ใบสำคัญการหย่า
รายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาตรวจสอบที่ ankara.thaiembassy.org
ในกรณีที่เอกสารยื่นคำร้องในวันนัดหมายไม่สมบูรณ์เรียบร้อย สถานเอกอัครราชทูตฯ ขอสงวนสิทธ์ในการปฏิเสธคำร้อง และผู้ร้องจะต้องทำการนัดหมายใหม่อีกครั้ง
หนังสือเดินทางฉุกเฉินจะออกให้แก่ผู้ที่มีความจำเป็นฉุกเฉินเท่านั้น ดังนั้น ผู้ร้องจะต้องติดต่อสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงอังการา ที่เบอร์ 0312 437 4318 หรือ consular.ank@mfa.go.th ก่อนเท่านั้น เมื่อได้รับการยืนยันอนุญาตให้ทำหนังสือเดินทางฉุกเฉินจากสถานเอกอัครราชทูตฯ ท่านจึงจะสามารถจองคิวได้
ในกรณีที่ท่านจองคิวทำหนังสือเดินทางฉุกเฉินเข้ามาโดยที่ยังไม่ได้รับการอนุมัติจากสถานเอกอัครราชทูตฯ การจองของท่านจะถูกปฏิเสธ ถึงแม้ว่าท่านจะมาแสดงตนที่สถานเอกอัครราชทูตฯ แล้วก็ตาม
ในกรณีที่ท่านจองคิวทำหนังสือเดินทางฉุกเฉินเข้ามาโดยที่ยังไม่ได้รับการอนุมัติจากสถานเอกอัครราชทูตฯ การจองของท่านจะถูกปฏิเสธ ถึงแม้ว่าท่านจะมาแสดงตนที่สถานเอกอัครราชทูตฯ แล้วก็ตาม
เอกสารเดินทางฉุกเฉินจะออกให้แก่ผู้ที่มีความจำเป็นฉุกเฉินเท่านั้น ดังนั้น ผู้ร้องจะต้องติดต่อสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงอังการา ที่เบอร์ 0312 437 4318 หรือ consular.ank@mfa.go.th ก่อนเท่านั้น เมื่อได้รับการยืนยันอนุญาตให้ทำเอกสารเดินทางฉุกเฉินจากสถานเอกอัครราชทูตฯ ท่านจึงจะสามารถจองคิวได้
ในกรณีที่ท่านจองคิวทำเอกสารเดินทางฉุกเฉินเข้ามาโดยที่ยังไม่ได้รับการอนุมัติจากสถานเอกอัครราชทูตฯ การจองของท่านจะถูกปฏิเสธ ถึงแม้ว่าท่านจะมาแสดงตนที่สถานเอกอัครราชทูตฯ แล้วก็ตาม
ในกรณีที่ท่านจองคิวทำเอกสารเดินทางฉุกเฉินเข้ามาโดยที่ยังไม่ได้รับการอนุมัติจากสถานเอกอัครราชทูตฯ การจองของท่านจะถูกปฏิเสธ ถึงแม้ว่าท่านจะมาแสดงตนที่สถานเอกอัครราชทูตฯ แล้วก็ตาม
กรุณาตรวจสอบรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ankara.thaiembassy.org
กรุณาตรวจสอบรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ankara.thaiemabassy.org
การขอรับรองลายมือชื่อในหนังสือมอบอำนาจ
การรับรองลายมือชื่อของบุคคลที่ลงนามในหนังสือมอบอำนาจ ผู้ขอรับรองจะต้องมาลงนามต่าหน้าเจ้าหน้าที่ด้วยตนเอง
หลักฐานประกอบ
ผู้มอบอำนาจ
1. คำร้องนิติกรณ์ (ติดต่อขอรับที่สถานเอกอัครราชทูตฯ)
2. คำร้องหนังสือมอบอำนาจ (ติดต่อขอรับที่สถานเอกอัครราชทูตฯ)
3. บัตรประจำตัวประชาชน พร้อมสำเนา 1 ชุด
4. สำเนาทะเบียนบ้าน พร้อมสำเนา 1 ชุด
5. หนังสือเดินทาง พร้อมสำเนา 1 ชุด
ผู้รับมอบอำนาจ
1. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ที่เซ็นสำเนาถูกต้อง 1 ชุด
2. สำเนาทะเบียนบ้าน ที่เซ็นสำเนาถูกต้อง 1 ชุด
*ผู้รับมอบอำนาจจะต้องเป็นผู้ที่บรรลุนิติภาวะ อายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
พยาน
พยาน 2 คน มาพร้อมบัตรประจำตัวประชาชนตัวจริงและสำเนา
ในกรณีที่เอกสารยื่นคำร้องในวันนัดหมายไม่สมบูรณ์เรียบร้อย สถานเอกอัครราชทูตฯ ขอสงวนสิทธ์ในการปฏิเสธคำร้อง และผู้ร้องจะต้องทำการนัดหมายใหม่อีกครั้ง
การรับรองลายมือชื่อของบุคคลที่ลงนามในหนังสือมอบอำนาจ ผู้ขอรับรองจะต้องมาลงนามต่าหน้าเจ้าหน้าที่ด้วยตนเอง
หลักฐานประกอบ
ผู้มอบอำนาจ
1. คำร้องนิติกรณ์ (ติดต่อขอรับที่สถานเอกอัครราชทูตฯ)
2. คำร้องหนังสือมอบอำนาจ (ติดต่อขอรับที่สถานเอกอัครราชทูตฯ)
3. บัตรประจำตัวประชาชน พร้อมสำเนา 1 ชุด
4. สำเนาทะเบียนบ้าน พร้อมสำเนา 1 ชุด
5. หนังสือเดินทาง พร้อมสำเนา 1 ชุด
ผู้รับมอบอำนาจ
1. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ที่เซ็นสำเนาถูกต้อง 1 ชุด
2. สำเนาทะเบียนบ้าน ที่เซ็นสำเนาถูกต้อง 1 ชุด
*ผู้รับมอบอำนาจจะต้องเป็นผู้ที่บรรลุนิติภาวะ อายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
พยาน
พยาน 2 คน มาพร้อมบัตรประจำตัวประชาชนตัวจริงและสำเนา
ในกรณีที่เอกสารยื่นคำร้องในวันนัดหมายไม่สมบูรณ์เรียบร้อย สถานเอกอัครราชทูตฯ ขอสงวนสิทธ์ในการปฏิเสธคำร้อง และผู้ร้องจะต้องทำการนัดหมายใหม่อีกครั้ง
เอกสารที่จะต้องนำมายื่นประกอบ
1. บัตรประชาชน
2. หนังสือเดินทาง
3. สูติบัตรบุตรตัวจริง(ถ้ามี) หรือสำเนา
4. สำเนาบัตรประชาชนบุตร(ถ้ามี)
5. สำเนาทะเบียนสมรส(ถ้ามี)
สถานเอกอัครราชทูตฯ สามารถเรียกเอกสารเพิ่มเติมได้ หากจำเป็น
1. บัตรประชาชน
2. หนังสือเดินทาง
3. สูติบัตรบุตรตัวจริง(ถ้ามี) หรือสำเนา
4. สำเนาบัตรประชาชนบุตร(ถ้ามี)
5. สำเนาทะเบียนสมรส(ถ้ามี)
สถานเอกอัครราชทูตฯ สามารถเรียกเอกสารเพิ่มเติมได้ หากจำเป็น
ตรวจสอบรายละเอียดเอกสารเพิ่มเติมที่ ankara.thaiembassy.org
*เงื่อนไข*
1. ต้องไม่ใช่การทำบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรก หากเป็นการทำบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรก ต้องทำที่ประเทศไทยเท่านั้น เนื่องจากต้องมีการเก็บข้อมูลลายนิ้วมือและรูปถ่ายที่อำเภอหรือเขตที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
2. ต้องเป็นการต่ออายุบัตรประจำตัวประชาชน หรือเป็นการทำบัตรใหม่ในกรณีชำรุด สูญหาย หรือมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล เช่น เปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนนามสกุล หรือเปลี่ยนที่อยู่ (ซึ่งจะต้องดำเนินการเปลี่ยนข้อมูลดังกล่าวในทะเบียนราษฎร์ที่ประเทศไทยก่อนโดยไปดำเนินการด้วยตนเองหรือมอบอำนาจ)
3. ผู้ยื่นคำร้องต้องเป็นบุคคลถือสัญชาติไทย อายุ 7 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป แต่ไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์
ผู้ยื่นคำร้องต้องมีเลขบัตรประจำตัวประชาชน 13 หลักแล้ว
รายการเอกสารประกอบการยื่นคำร้องผู้ยื่นคำร้องต้องมายื่นคำร้องด้วยตัวเอง โดยยื่นเอกสารประกอบ ดังต่อไปนี้
1. บัตรประจำตัวประชาชนใบเดิม พร้อมสำเนา
2. หากบัตรสูญหายหรือถูกขโมยสำเนาใบแจ้งความ/แจ้งหาย
3. หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ-นามสกุล (ในกรณีที่มีการเปลี่ยนชื่อ-นามสกุล)
4. เจ้าหน้าที่อาจเรียกเอกสารเพิ่มเติมได้ตามความจำเป็น เช่น ใบทะเบียนสมรส ใบหย่า เป็นต้น
ในกรณีที่เอกสารยื่นคำร้องในวันนัดหมายไม่สมบูรณ์เรียบร้อย สถานเอกอัครราชทูตฯ ขอสงวนสิทธ์ในการปฏิเสธคำร้อง และผู้ร้องจะต้องทำการนัดหมายใหม่อีกครั้ง
1. ต้องไม่ใช่การทำบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรก หากเป็นการทำบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรก ต้องทำที่ประเทศไทยเท่านั้น เนื่องจากต้องมีการเก็บข้อมูลลายนิ้วมือและรูปถ่ายที่อำเภอหรือเขตที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
2. ต้องเป็นการต่ออายุบัตรประจำตัวประชาชน หรือเป็นการทำบัตรใหม่ในกรณีชำรุด สูญหาย หรือมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล เช่น เปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนนามสกุล หรือเปลี่ยนที่อยู่ (ซึ่งจะต้องดำเนินการเปลี่ยนข้อมูลดังกล่าวในทะเบียนราษฎร์ที่ประเทศไทยก่อนโดยไปดำเนินการด้วยตนเองหรือมอบอำนาจ)
3. ผู้ยื่นคำร้องต้องเป็นบุคคลถือสัญชาติไทย อายุ 7 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป แต่ไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์
ผู้ยื่นคำร้องต้องมีเลขบัตรประจำตัวประชาชน 13 หลักแล้ว
รายการเอกสารประกอบการยื่นคำร้องผู้ยื่นคำร้องต้องมายื่นคำร้องด้วยตัวเอง โดยยื่นเอกสารประกอบ ดังต่อไปนี้
1. บัตรประจำตัวประชาชนใบเดิม พร้อมสำเนา
2. หากบัตรสูญหายหรือถูกขโมยสำเนาใบแจ้งความ/แจ้งหาย
3. หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ-นามสกุล (ในกรณีที่มีการเปลี่ยนชื่อ-นามสกุล)
4. เจ้าหน้าที่อาจเรียกเอกสารเพิ่มเติมได้ตามความจำเป็น เช่น ใบทะเบียนสมรส ใบหย่า เป็นต้น
ในกรณีที่เอกสารยื่นคำร้องในวันนัดหมายไม่สมบูรณ์เรียบร้อย สถานเอกอัครราชทูตฯ ขอสงวนสิทธ์ในการปฏิเสธคำร้อง และผู้ร้องจะต้องทำการนัดหมายใหม่อีกครั้ง
กรุณาตรวจสอบรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ankara.thaiembassy.org
กรุณาตรวจสอบรายละเอียดเอกสารที่ต้องใช้ประกอบคำร้อง รวมทั้งรายละเอียดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้เรียบร้อยก่อนทำการจองคิว โดยท่านสามารถตรวจสอบรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ ankara.thaiembassy.org
ในกรณีที่เอกสารยื่นคำร้องในวันนัดหมายไม่สมบูรณ์เรียบร้อย สถานเอกอัครราชทูตฯ ขอสงวนสิทธ์ในการปฏิเสธคำร้อง และผู้ร้องจะต้องทำการนัดหมายใหม่อีกครั้ง
ในกรณีที่เอกสารยื่นคำร้องในวันนัดหมายไม่สมบูรณ์เรียบร้อย สถานเอกอัครราชทูตฯ ขอสงวนสิทธ์ในการปฏิเสธคำร้อง และผู้ร้องจะต้องทำการนัดหมายใหม่อีกครั้ง
กรุณาตรวจสอบรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ankara.thaiemabassy.org
Good to know
Grow your brand with Setmore